View map View map

ชุดสาธิตเรื่องเข้ารหัสสัญญาณสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ = Stereo multiplex encoder demonstration / ธรรมรงค์ บุญชู, บัวทอง นุขเนื่อง.

ผู้แต่งธรรมรงค์ บุญชู
พิมพลักษณ์ตาก : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 2551
รูปเล่มญ ,194 แ่ผ่น : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม
หัวเรื่องระบบเสียงสเตริโอ
วิทยุ --เครื่องรับและการรับ[+]
วิทยุ
ผู้แต่งร่วมบัวทอง นุขเนื่อง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาตาก วิชาเอกเทคโนโลยีโทรคมนาคม
ประเภทแหล่งที่มา Book

บาร์โค้ด
ห้องสมุดที่จัดเก็บ
ห้องสมุดมทร.ล้านนา ตาก
สถานที่จัดเก็บ
รายงานนักศึกษา / Project
ฉบับ
1
เลขเรียก
621.384152 ธ352ช
สถานะ

ดูที่ชั้น


Previous 1 Next 

TagData
เลขเรียก621.384152 ธ352ช
ผู้แต่งธรรมรงค์ บุญชู
ชื่อเรื่องชุดสาธิตเรื่องเข้ารหัสสัญญาณสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ = Stereo multiplex encoder demonstration / ธรรมรงค์ บุญชู, บัวทอง นุขเนื่อง
พิมพลักษณ์ตาก : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 2551
รูปเล่มญ ,194 แ่ผ่น : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม
หมายเหตุปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต วิชาเอกเทคโนโลยีโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก
หมายเหตุวิทยานิพนธ์ปริญญานิพนธ์เรื่องชุดสาธิตเครื่องเข้ารหัสสัญญาณสเตอริโอมัลติเดล็กซ์นี้ มีจุดม่หงุมายเพื่อสร้างขุดสาธิตเครื่องเข้ารหัสสัญยาณสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ที่ใช้ประกอบการเรียนการศึกษาของนัีกศึกษาในภาคปฏิบัติซึ่งจะทำให้ง่ายต่อการทำความเข้าใจในระบบสเตอริโอมัลติเพล็กซ์วงจรที่ออกแบบนี้ได้ผ่านการทดลองจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเปรียบเทียบผลที่ได้ อีกทั้งยังเป็นการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้ศึกษามาทำการออกแบบและสร้างชุดสาธิตจนเป็นผลสำเร็จได้ กล่าวโดยสรุปของระบบสัญญาณสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ (Stereo Multiplex Encoder) คือจะรับสัญญาณเข้าจากไมโครโฟนทางด้านซ้าย (L) และทางด้านขวา (R) จากแหล่งกำเนิดสัญญาณเสียงต่าง ๆ สู่ภาควงจรกรองผ่านความถี่่ต่ำ โลพาสฟิลเดอร์ (Active Low-pass Filter) วงจรจะทำการกรองหรือตัดความถี่ที่สูงกว่า 15 กิโลเฮิรตซ์ออก ลักษณะของวงจรจะมีขนาดของสัญญาณเอ้าท์พุทที่คงที่ สัญญาณที่เข้ามาจากทางด้านซ้าย (L) และด้านขวา (R) จะนำสัญญาณมารวมกันเป็นสัญญาณ (L+R) และถูกส่งต่อไปยังภาคมัลติเพล็กซ์เพื่อรวมกับสัญญาณอื่น ๆ ส่วนสัญญาณด้านขวา (R) จะนำมาทำการกลับเฟส 180 องศาได้เป็นสัญญาณ (-R) ส่งไปรวมกับสัญญาณด้านซ้าย (L) จะได้เป็นสัญญาณ (L-R) และส่งต่อไปยังภาคบาลานซ์มอดูเลเตอร์ (Balance Modulator) เพืืื่อทำการมอดูเลตหรือรวมสัญญาณกับความถี่ 38 กิโลเฮิรตซ์สัญญาณเอ้าท์พุทที่ได้นี้เรียกว่า สัญญาณคลื่นพาห์ย่อย (L-R Sub-carrier) ซึ่งจะถูกส่งไปยังภาคมัลติเพล็กซ์เพื่อรวมกับสัญญาณ L+R และสัญญาณไพล็อตโทน (19 กิโลเฮิรตซ์) จะได้เป็นสัญญาสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ ส่งต่อไปยังภาค Exciter, ภาคขยายกำลัง (Power Amplifier) ภาคกรองสัญญาณ (Filter) แล้วจึงส่งออกอากาศในย่านความถี่ 88-108 MHz ต่อไป
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
ผู้แต่งร่วมบัวทอง นุขเนื่อง
Loading...
TagData
Titleชุดสาธิตเรื่องเข้ารหัสสัญญาณสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ =
TitleStereo multiplex encoder demonstration.
Subjectระบบเสียงสเตริโอ.
Subjectวิทยุ--เครื่องรับและการรับ.
Subjectวิทยุ.
Subject621.384152
Descriptionปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต วิชาเอกเทคโนโลยีโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก.
Descriptionปริญญานิพนธ์เรื่องชุดสาธิตเครื่องเข้ารหัสสัญญาณสเตอริโอมัลติเดล็กซ์นี้ มีจุดม่หงุมายเพื่อสร้างขุดสาธิตเครื่องเข้ารหัสสัญยาณสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ที่ใช้ประกอบการเรียนการศึกษาของนัีกศึกษาในภาคปฏิบัติซึ่งจะทำให้ง่ายต่อการทำความเข้าใจในระบบสเตอริโอมัลติเพล็กซ์วงจรที่ออกแบบนี้ได้ผ่านการทดลองจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเปรียบเทียบผลที่ได้ อีกทั้งยังเป็นการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้ศึกษามาทำการออกแบบและสร้างชุดสาธิตจนเป็นผลสำเร็จได้ กล่าวโดยสรุปของระบบสัญญาณสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ (Stereo Multiplex Encoder) คือจะรับสัญญาณเข้าจากไมโครโฟนทางด้านซ้าย (L) และทางด้านขวา (R) จากแหล่งกำเนิดสัญญาณเสียงต่าง ๆ สู่ภาควงจรกรองผ่านความถี่่ต่ำ โลพาสฟิลเดอร์ (Active Low-pass Filter) วงจรจะทำการกรองหรือตัดความถี่ที่สูงกว่า 15 กิโลเฮิรตซ์ออก ลักษณะของวงจรจะมีขนาดของสัญญาณเอ้าท์พุทที่คงที่ สัญญาณที่เข้ามาจากทางด้านซ้าย (L) และด้านขวา (R) จะนำสัญญาณมารวมกันเป็นสัญญาณ (L+R) และถูกส่งต่อไปยังภาคมัลติเพล็กซ์เพื่อรวมกับสัญญาณอื่น ๆ ส่วนสัญญาณด้านขวา (R) จะนำมาทำการกลับเฟส 180 องศาได้เป็นสัญญาณ (-R) ส่งไปรวมกับสัญญาณด้านซ้าย (L) จะได้เป็นสัญญาณ (L-R) และส่งต่อไปยังภาคบาลานซ์มอดูเลเตอร์ (Balance Modulator) เพืืื่อทำการมอดูเลตหรือรวมสัญญาณกับความถี่ 38 กิโลเฮิรตซ์สัญญาณเอ้าท์พุทที่ได้นี้เรียกว่า สัญญาณคลื่นพาห์ย่อย (L-R Sub-carrier) ซึ่งจะถูกส่งไปยังภาคมัลติเพล็กซ์เพื่อรวมกับสัญญาณ L+R และสัญญาณไพล็อตโทน (19 กิโลเฮิรตซ์) จะได้เป็นสัญญาสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ ส่งต่อไปยังภาค Exciter, ภาคขยายกำลัง (Power Amplifier) ภาคกรองสัญญาณ (Filter) แล้วจึงส่งออกอากาศในย่านความถี่ 88-108 MHz ต่อไป.
Publisherตาก : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา,
Contributorธรรมรงค์ บุญชู.
Contributorบัวทอง นุขเนื่อง.
Contributorมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาตาก วิชาเอกเทคโนโลยีโทรคมนาคม.
Date2551
Date2551.
Typetext
Languagetha

Librarian Review


Member Review


รายการเกี่ยวข้อง

Loading...


เปิดดูล่าสุด

Loading...

สถิติ




แท็ก




ทรัพยากรของฉัน

ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
Style Switcher
Theme Colors

Layout Styles