View map View map

การศึกษาเปรียบเทียบสมรรถนะของชุดกังหันพลังน้ำขนาดเล็กในการผลิตกระแสไฟฟ้า จากการไหลของแม่น้ำปิง เขตอำเภอเมืองตาก = The study compared the performance of micro hydro turbines to generations electricity from the flow of Ping river / จักรกฤษ สุติวงค์, ณรงค์ บัวหลวง, นภสินธุ์ ชุมดวง.

ผู้แต่งจักรกฤษ สุติวงค์
พิมพลักษณ์ตาก : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 2556
รูปเล่มฑ, 96 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30 ซม. + ซีดีรอม 1 แผ่น
หัวเรื่องกังหันน้ำ
การผลิตพลังงานไฟฟ้า
ผู้แต่งร่วมณรงค์ บัวหลวง
นภสินธุ์ ชุมดวง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาตาก. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
ประเภทแหล่งที่มา Book

บาร์โค้ด
ห้องสมุดที่จัดเก็บ
ห้องสมุดมทร.ล้านนา ตาก
สถานที่จัดเก็บ
รายงานนักศึกษา / Project
ฉบับ
1
เลขเรียก
621.24 จ216ก 2556
สถานะ

ดูที่ชั้น


Previous 1 Next 

TagData
เลขเรียก621.24 จ216ก 2556
ผู้แต่งจักรกฤษ สุติวงค์
ชื่อเรื่องการศึกษาเปรียบเทียบสมรรถนะของชุดกังหันพลังน้ำขนาดเล็กในการผลิตกระแสไฟฟ้า จากการไหลของแม่น้ำปิง เขตอำเภอเมืองตาก = The study compared the performance of micro hydro turbines to generations electricity from the flow of Ping river / จักรกฤษ สุติวงค์, ณรงค์ บัวหลวง, นภสินธุ์ ชุมดวง
พิมพลักษณ์ตาก : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 2556
รูปเล่มฑ, 96 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30 ซม. + ซีดีรอม 1 แผ่น
หมายเหตุปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานตามหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณทิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก
สาระสังเขปโครงงานนี้จัดทำขึ้นเพื่อสร้างกังหันพลังนํ้าขนาดเล็กในการผลิตไฟฟ้าขึ้นมาสองแบบคือกังหันแบบ 3 ใบพัดและกังหันแบบ 6 ใบพัด เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าของกังหันทั้งสองแบบ โดยใช้พลังจากอัตราการไหลของแม่นํ้าปิง บริเวณอำเภอเมือง จังหวัดตากที่มีอัตราการไหลเฉลี่ยอยู่ที่ 0.61dเมตรต่อวินาที โดยนำเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับขนาด120 วัตต์ 220 โวลต์ 3,000 รอบต่อนาที ต่อเข้ากับเกียร์ทดรอบโดยใช้อัตราทดรอบ 1:30 ต่อขับโดยตรงกับแกนเพลากังหันนํ้า ทั้งสองแบบ โดยออกแบบให้กังหันนํ้าทั้งหมดมีเส้นผ่านศูนย์กลางของกังหันเท่าๆกัน คือ 90dเซนติเมตร แล้วนำมาทดสอบเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า จากการทดสอบพบว่าพลังงานไฟฟ้าที่ได้จากกังหันพลังนํ้าแบบ 3 ใบพัด แรงดันที่ได้จากเครื่องกำเนิดจะได้ 15.23 โวลต์โดยเฉลี่ย กระแสที่ได้ประมาณ 0.1 แอมป์แปร์ ส่วนการทดสอบของกังหันพลังนํ้าแบบ 6 ใบพัด แรงดันที่ได้จากเครื่องกำเนิดจะได้ 15.16 โวลต์โดยเฉลี่ย กระแสที่ได้ประมาณ 0.1dแอมป์แปร์ การทดสอบประสิทธิภาพการอัดประจุแบตเตอรี่ของกังหันพลังนํ้า แบบ 3 ใบพัด พบว่าในการชาร์จประจุแบตเตอรี่จะใช้กระแสไฟฟ้าในการชาร์จประมาณ 0.1 แอมป์แปร์ แรงดัน 12.23 โวลต์โดยเฉลี่ย และแบบ 6 ใบพัด จะใช้กระแสในการชาร์จประมาณ 0.09dแอมป์แปร์กแรงดัน 12.13dโวลต์โดยเฉลี่ย จากการทดสอบจึงสรุปได้ว่ากังหันพลังนํ้า แบบ 3 ใบพัดมีประสิทธิภาพในการผลิตกำลังไฟฟ้าและอัดประจุแบตเตอรี่ได้ดีกว่ากังหันพลังนํ้าแบบ 6 ใบพัด
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
ผู้แต่งร่วมณรงค์ บัวหลวง
ผู้แต่งร่วมนภสินธุ์ ชุมดวง
Loading...
TagData
Titleการศึกษาเปรียบเทียบสมรรถนะของชุดกังหันพลังน้ำขนาดเล็กในการผลิตกระแสไฟฟ้า จากการไหลของแม่น้ำปิง เขตอำเภอเมืองตาก =
TitleThe study compared the performance of micro hydro turbines to generations electricity from the flow of Ping river
Subjectกังหันน้ำ.
Subjectการผลิตพลังงานไฟฟ้า.
Subject621.24
Descriptionปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานตามหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณทิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก.
Descriptionโครงงานนี้จัดทำขึ้นเพื่อสร้างกังหันพลังนํ้าขนาดเล็กในการผลิตไฟฟ้าขึ้นมาสองแบบคือกังหันแบบ 3 ใบพัดและกังหันแบบ 6 ใบพัด เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าของกังหันทั้งสองแบบ โดยใช้พลังจากอัตราการไหลของแม่นํ้าปิง บริเวณอำเภอเมือง จังหวัดตากที่มีอัตราการไหลเฉลี่ยอยู่ที่ 0.61dเมตรต่อวินาที โดยนำเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับขนาด120 วัตต์ 220 โวลต์ 3,000 รอบต่อนาที ต่อเข้ากับเกียร์ทดรอบโดยใช้อัตราทดรอบ 1:30 ต่อขับโดยตรงกับแกนเพลากังหันนํ้า ทั้งสองแบบ โดยออกแบบให้กังหันนํ้าทั้งหมดมีเส้นผ่านศูนย์กลางของกังหันเท่าๆกัน คือ 90dเซนติเมตร แล้วนำมาทดสอบเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า จากการทดสอบพบว่าพลังงานไฟฟ้าที่ได้จากกังหันพลังนํ้าแบบ 3 ใบพัด แรงดันที่ได้จากเครื่องกำเนิดจะได้ 15.23 โวลต์โดยเฉลี่ย กระแสที่ได้ประมาณ 0.1 แอมป์แปร์ ส่วนการทดสอบของกังหันพลังนํ้าแบบ 6 ใบพัด แรงดันที่ได้จากเครื่องกำเนิดจะได้ 15.16 โวลต์โดยเฉลี่ย กระแสที่ได้ประมาณ 0.1dแอมป์แปร์ การทดสอบประสิทธิภาพการอัดประจุแบตเตอรี่ของกังหันพลังนํ้า แบบ 3 ใบพัด พบว่าในการชาร์จประจุแบตเตอรี่จะใช้กระแสไฟฟ้าในการชาร์จประมาณ 0.1 แอมป์แปร์ แรงดัน 12.23 โวลต์โดยเฉลี่ย และแบบ 6 ใบพัด จะใช้กระแสในการชาร์จประมาณ 0.09dแอมป์แปร์กแรงดัน 12.13dโวลต์โดยเฉลี่ย จากการทดสอบจึงสรุปได้ว่ากังหันพลังนํ้า แบบ 3 ใบพัดมีประสิทธิภาพในการผลิตกำลังไฟฟ้าและอัดประจุแบตเตอรี่ได้ดีกว่ากังหันพลังนํ้าแบบ 6 ใบพัด.
Publisherตาก : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา,
Contributorจักรกฤษ สุติวงค์.
Contributorณรงค์ บัวหลวง.
Contributorนภสินธุ์ ชุมดวง.
Contributorมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาตาก. คณะวิศวกรรมศาสตร์.
Date2556
Date2556.
Typetext
Languagetha

Librarian Review


Member Review


รายการเกี่ยวข้อง

Loading...


เปิดดูล่าสุด

Loading...

สถิติ




แท็ก




ทรัพยากรของฉัน

ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
Style Switcher
Theme Colors

Layout Styles